สัปดาห์ที่ 11
#incude
#include
main ()
{
clrscr ();
gotoxy(35,17);printf("----------------------------\n");
gotoxy(35,18);printf("prungtawan suptanom\n");
gotoxy(35,19);printf("----------------------------\n");
gotoxy(35,20);printf(" No:20 ");
getch();
return 0;
}
วันพฤหัสบดีที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2552
สัปดาห์ที่8
สัปดาห์ที่ 8
การทักทายภาษาต่างๆ
1.ภาษาญี่ปุ่น : โอะฮาโย่ โกไซมัส = สวัสดีตอนเช้า
2.ภาษาเกาหลี : อันยอง ฮาเซโย = สวัสดี
3.ภาษาสเปน : โอล่า = สวัสดี
4.ภาษาเวียดนาม : ซินจ่าว = สวัสดี
5.ภาษามาเลเซีย : ซาลามัต ดาตัง = สวัสดี
6.ภาษาเยอรมัน : ฮาโหล = สวัสดี
7.ภาษาอิตาเลียน : บวน จอรโน = สวัสดี
8.ภาษาจีน : หนีห่าว = สวัสดี
9.ภาษาลาว : สะบายดี = สวัสดี
10.ภาษาอินโดนีเซีย : ซาลา = สวัสดี
ภาษาคอมพิวเตอร์และความเหมาะสมในการใช้งานของแต่ละภาษา
+BASIC (Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code) สำหรับผู้เริ่มศึกษาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
+COBOL (Common Business Oriented Language) นิยมใช้ในงานธุรกิจบนเครื่องขนาดใหญ่
+FORTRAN (FORmula TRANslator) ใช้สำหรับงานด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
+Pascal (ชื่อของ Blaise Pascal) ใช้ในวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย
+C สำหรับนักเขียนโปรแกรม และใช้ในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
+C++ สำหรับผู้ผลิตซอฟต์แวร์
+ALGOL (ALGOrithmic Language) เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้เป็นภาษาสำหรับงานทางวิทยาศาสตร์ และต่อมามีการพัฒนาต่อเป็นภาษา PL/I และ Pascal
+APL (A Programming Language) ออกแบบโดยบริษัท IBM ในปีค.ศ. 1968 เป็นภาษาที่โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะสำหรับจัดการกับกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กันในรูปแบบตาราง
+LISP (LIST Processing) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับข้อมูลที่ไม่ใช้ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นสัญลักษณ์พิเศษหรือตัวอักษรก็ได้ นิยมใช้ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artifical Inelligence)
+LOGO นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อสอนทักษะการแก้ปัญหาให้กับนักเรียน
+PL/I (Programming Language One) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ และธุรกิจ
+PROLOG (PROgramming LOGIC) นิยมใช้มากในงานด้านปัญญาประดิษฐ์ จัดเป็นภาษาธรรมชาติภาษาหนึ่ง
+RPG (Report Program Generator) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทางธุรกิจ จะมีคุณสมบัติในการสร้างโปรแกรมสำหรับพิมพ์รายงานที่ยืดหยุ่นมาก
การทักทายภาษาต่างๆ
1.ภาษาญี่ปุ่น : โอะฮาโย่ โกไซมัส = สวัสดีตอนเช้า
2.ภาษาเกาหลี : อันยอง ฮาเซโย = สวัสดี
3.ภาษาสเปน : โอล่า = สวัสดี
4.ภาษาเวียดนาม : ซินจ่าว = สวัสดี
5.ภาษามาเลเซีย : ซาลามัต ดาตัง = สวัสดี
6.ภาษาเยอรมัน : ฮาโหล = สวัสดี
7.ภาษาอิตาเลียน : บวน จอรโน = สวัสดี
8.ภาษาจีน : หนีห่าว = สวัสดี
9.ภาษาลาว : สะบายดี = สวัสดี
10.ภาษาอินโดนีเซีย : ซาลา = สวัสดี
ภาษาคอมพิวเตอร์และความเหมาะสมในการใช้งานของแต่ละภาษา
+BASIC (Beginner's All-purpose Symbolic Instruction Code) สำหรับผู้เริ่มศึกษาการเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์
+COBOL (Common Business Oriented Language) นิยมใช้ในงานธุรกิจบนเครื่องขนาดใหญ่
+FORTRAN (FORmula TRANslator) ใช้สำหรับงานด้านคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์
+Pascal (ชื่อของ Blaise Pascal) ใช้ในวิทยาลัย และมหาวิทยาลัย
+C สำหรับนักเขียนโปรแกรม และใช้ในวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
+C++ สำหรับผู้ผลิตซอฟต์แวร์
+ALGOL (ALGOrithmic Language) เริ่มต้นได้รับการออกแบบให้เป็นภาษาสำหรับงานทางวิทยาศาสตร์ และต่อมามีการพัฒนาต่อเป็นภาษา PL/I และ Pascal
+APL (A Programming Language) ออกแบบโดยบริษัท IBM ในปีค.ศ. 1968 เป็นภาษาที่โต้ตอบกับผู้ใช้ทันที เหมาะสำหรับจัดการกับกลุ่มของข้อมูลที่สัมพันธ์กันในรูปแบบตาราง
+LISP (LIST Processing) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับข้อมูลที่ไม่ใช้ตัวเลข ซึ่งอาจเป็นสัญลักษณ์พิเศษหรือตัวอักษรก็ได้ นิยมใช้ในด้านปัญญาประดิษฐ์ (Artifical Inelligence)
+LOGO นิยมใช้ในโรงเรียน เพื่อสอนทักษะการแก้ปัญหาให้กับนักเรียน
+PL/I (Programming Language One) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทั้งทางด้านวิทยาศาสตร์ และธุรกิจ
+PROLOG (PROgramming LOGIC) นิยมใช้มากในงานด้านปัญญาประดิษฐ์ จัดเป็นภาษาธรรมชาติภาษาหนึ่ง
+RPG (Report Program Generator) ถูกออกแบบมาให้ใช้กับงานทางธุรกิจ จะมีคุณสมบัติในการสร้างโปรแกรมสำหรับพิมพ์รายงานที่ยืดหยุ่นมาก
สัปดาห์ที่7
สัปดาห์ที่ 7
- เรียนรู้การเขียนผังงานประเภทต่อมาคือแบบ 2 ทางเลือก และวนซ้ำ
- จากนั้นทำใบงานที่เหลือ
- เรียนรู้การเขียนผังงานประเภทต่อมาคือแบบ 2 ทางเลือก และวนซ้ำ
- จากนั้นทำใบงานที่เหลือ
สัปดาห์ที่6
สัปดาห์ที่ 6
1. ทดลอง/เรียนรู้ การใช้โปรแกรม Turbo C++
2. ทำใบงานในบทเรียน
3. สอบปฏิบัติการใช้โปรแกรม Turbo C++
1. ทดลอง/เรียนรู้ การใช้โปรแกรม Turbo C++
2. ทำใบงานในบทเรียน
3. สอบปฏิบัติการใช้โปรแกรม Turbo C++
สัปดาห์ที่5
สัปดาห์ที่ 5
1.สอบก่อนเรียนบทที่ 3
2.เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาซี
3.เรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
1.สอบก่อนเรียนบทที่ 3
2.เรียนรู้เกี่ยวกับภาษาซี
3.เรียนรู้เรื่องการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)